หน้าแรก
ผลงานของเรา
ภาพกิจกรรม
ติดต่อเรา
ส่งอีเมล์
ร้องทุกข์
E-Service
แผนที่เว็บไซต์
×
×
โครงสร้างการบริหาร
ทำเนียบผู้บริหาร
ทำเนียบฝ่ายสภา
สำนักปลัด
กองการคลัง
กองโยธา
กองการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม
กองสาธารณสุข
กองสวัสดิการฯ
โครงสร้างขององค์การบริหารส่วนตำบล
แผนจัดหาพัสดุ
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
วิสัยทัศน์การพัฒนา
ประวัติความเป็นมา
พันธกิจ
ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
ข้อมูลด้านสังคม
ข้อมูลด้านการการบริการพืิ้นฐาน
ข้อมูลด้านประชากร
แผนพัฒนา 3 ปี
แผนพัฒนาฯ 4 ปี
แผนพัฒนาฯ 5 ปี
แผนดำเนินงาน
แผนดำเนินงานประจำปี
คู่มือการให้บริการ
ระเบียบกฎฆมาย
คู่มือประชาชน
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
รูปกิจกรรม
รูปกิจกรรม
สายตรงผู้บริหาร
ปฎิทินกิจกรรม
มีนาคม 2564
อา
จ
อ
พ
พฤ
ศ
ส
28
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
วันที่ 7 มีนาคม 2564
หน้าแรก
การขายฝาก
การขายฝาก
การขายฝาก
การขายฝาก
ความหมาย
:
สัญญาขายฝากเป็นสัญญาซื้อขายซึ่งสิทธิแห่งความเป็นเจ้าของในทรัพย์สินตกไปยังผู้ซื้อโดยผู้ซื้อตกลงในขณะทำสัญญาว่า
ผู้ขายมีสิทธิไถ่ทรัพย์สินนั้นคืนได้ภายในกำหนดเวลาเท่าใดแต่ต้องไม่เกินเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้
เช่น ขายที่ดินโดยมีข้อตกลงว่า
ถ้าผู้ขายต้องการซื้อคืนผู้ซื้อจะยอมขายคืนเช่นนี้ถือว่าเป็นข้อตกลงให้ไถ่คืนได้
ตัวอย่าง
นายสีนำสวนทุเรียนไปขายกับผู้ใหญ่มา
โดยมีข้อตกลงในขณะทำสัญญาว่าผู้ใหญ่มายินยอมให้นายสีไถ่ที่สวนทุเรียนนั้นคืนได้ภายในกำหนด
1
ปี นับแต่วันที่ซื้อขายที่สวนกันสัญญาชนิดนี้เรียกว่า สัญญาขายฝาก
ข้อตกลงกันว่า
“
ผู้ขายอาจไถ่ทรัพย์สินคืนได้
”
ข้อตกลงนี้จะต้องมีขึ้นในขณะทำสัญญาซื้อขายกันเท่านั้น
ถ้าทำขึ้นภายหลังจากที่ได้ทำสัญญาซื้อขายแล้ว สัญญาดังกล่าวไม่ใช่สัญญาขายฝาก
แต่เป็นคำมั่นว่าจะขายคืนนั้น
ทรัพย์สินที่สามารถขายฝากได้
:
ทรัพย์สินทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นประเทศใดก็ตาม เช่น
ที่ดิน ที่สวน ไร่นา บ้าน รถยนต์ เรือ เกวียน โทรทัศน์ ฯลฯ ย่อมสามารถขายฝากได้เสมอ
แบบของสัญญาขายฝาก
:
(1)
ถ้าเป็นสัญญาขายฝากอสังหาริมทรัพย์ (คือ
ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้) เช่น ที่ดิน ที่นา บ้าน ฯลฯ
ต้องทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อเจ้าพนักงานน้าที่
ในกรณีที่เป็นที่ดินต้องจดทะเบียนต่อเจ้าพนักงานที่ดิน
ถ้าเป็นบ้านก็จดต่อที่ว่าการอำเภอที่บ้านนั้นตั้งอยู่
ถ้าไม่ทำตามนี้แล้วถือว่าสัญญาขายฝากจะเสียเปล่าบังคับไม่ได้
เท่ากับว่าไม่ได้ทำสัญญากันเลย
ตัวอย่าง นายทุเรียนต้องการขายฝากที่ดิน
1
แปลง
แก่นายส้มโอ ก็ต้องทำสัญญาขายฝากที่ดินนี้ต่อเจ้าพนักงานที่ดิน
และจดทะเบียนการขายฝากที่ดินนี้ต่อเจ้าพนักงานที่ดิน
ถ้าไม่ทำเช่นนี้แล้วถือว่าสัญญาขายฝากรายนี้เสียเปล่าใช้ไม่ได้มาตั้งแต่แรก
(2)
ถ้าเป็นการขายฝากอสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ ( คือ ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ได้
ซึ่งกำหนดไว้เป็นพิเศษว่าจะต้องทำเป็นหนังสือ และจดทะเบียนต่อเจ้าหน้าที่) เช่น แพ
เรือยนต์ สัตว์พาหนะ ฯลฯ ต้องทำเป็นหนังสือ และจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
โดยที่เรือจะจดทะเบียนที่กรมท่า สัตว์พาหนะและแพจะต้องจดที่อำเภอ
ถ้าไม่ทำตามนี้แล้วถือว่าสัญญาขายฝากจะเสียเปล่าใช้บังคับไม่ได้เลย
(3)
ถ้าเป็นขายฝากสังหาริมทรัพย์ชนิดธรรมดา (คือ ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ได้
เว้นแต่เรือ แพ
สัตว์พาหนะที่ต้องทะเบียนดังกล่าวในข้อ
1)
ที่มีราคา
500
บาทหรือเรียกว่า
500
บาทขึ้นไป เช่น รถยนต์ เกวียน เครื่องสูบน้ำ
เป็นต้น
การขายฝากนี้จะทำเป็นหลักฐานเป็นหนังสือให้ผู้ขายฝากและผู้ซื้อลงชื่อไว้ในหนังสือหรือต้องมีการวางมัดจำหรือมีการชำระหนี้บางส่วนไปแล้ว
มิฉะนั้นจะฟ้องร้องให้ศาลบังคับไม่ได้
ข้อตกลงไม่ให้ผู้ซื้อฝากจำหน่ายทรัพย์สินที่ขายฝาก
:
ในการตกลงฝากคู่สัญญาจะตกลงกันไม่ให้ผู้ซื้อฝากจำหน่ายทรัพย์สินที่ขายฝากก็ได้
แต่ถ้าผู้ซื้อขายฝากฝ่าฝืนข้อตกลงที่กำหนดในสัญญา
โดยนำทรัพย์สินที่ขายฝากไปจำหน่ายให้ผู้อื่น
ผู้ซื้อฝากจะต้องรับผิดชดใช้ความเสียหายใดๆ
ที่เกิดขึ้นแก่ผู้ขายฝาก
ตัวอย่าง
นางดำนำแหวนแต่งงานของตนซึ่งมีราคา
70,000
บาท
ไปขายฝากแก่เถ้าแก่เฮงในราคา
50,000
บาท โดยสัญญาตกลงว่า
“
ห้ามเถ้าแก่เฮงนำแหวนไปขายให้แก่บุคคลอื่น
”
ต่อมาเถ้าแก่นำแหวนไปขายให้นางดี
โดยนางดีไม่ทราบว่าแหวนนี้เป็นของใคร เป็นเหตุให้นางดำไม่สามารถติดตามเอาแหวนคืนได้
เช่นนี้เถ้าแก่เฮงต้องชดใช้ค่าเสียหายอันเป้นราคาแหวน
20,000
บาท
กำหนดเวลาในการไถ่ทรัพย์สิน
:
(1)
ถ้าเป็นการขายฝากอสังหาริมทรัพย์ ต้องกำหนดเวลาในการใช้สิทธิไถ่คืนไม่เกิน
10
ปี นับแต่วันที่มีการซื้อขายฝากกัน แต่ไม่ได้กำหนดเวลาในการไถ่เอาไว้
หรือกำหนดเวลาไว้เกินกว่า
10
ปี กฎหมายให้ลดเวลาลงเหลือแค่
10
ปีเท่านั้น
(2)
ถ้าเป็นสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษและชนิดธรรมดา
ต้องกำหนดเวลาไถ่คืนไม่เกิน
3
ปี นับตั้งแต่วันซื้อขายฝากกัน
แต่ถ้าไม่ได้กำหนดเวลาในการไถ่คืนเอาไว้ หรือกำหนดเวลาไว้เกินกว่า
3
ปี
ให้ลดเวลาลงเหลือ
3
ปี เท่านั้น
สาสน์จากผู้บริหาร
นายจำรัส พลรักษา
นายกองค์การบริหารส่วนตำบล
หนองตาดใหญ่
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
รายงานผลการดำเนินงานรายไตรมาส
งบการเงินประจำปี
รายงานรับ-จ่ายจริง
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างประจำเดือน
ประกาศ
ประกาศ
การให้บริการ
ถาม-ตอบ
สมุดเยี่ยมชม
ดาวน์โหลด
กระดานสนทนา
แบบสำรวจความคิดเห็น
คุณมีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับเว็บไซต์ใหม่ของ อบต.
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
โหวต
ผลโหวต
สถิติผู้เยี่ยมชม
ออนไลน์ทั้งหมด
1
คน
หมายเลข IP
54.236.62.49
คุณเข้าชมลำดับที่
176,341
กฎหมายน่ารู้
การกู้ยืมเงิน
การค้ำประกัน
การซื้อขาย
การจำนอง
การจำนำ
การเช่าทรัพย์
การขายฝาก
การเช่าซื้อ
การละเมิด
ลิงค์ต่างๆ
ห้องสมุดกฏหมาย
สลากกินแบ่งรัฐบาล
ตารางรถทัวร์
ตารางรถไฟ
สมุดหน้าเหลือง
ตรวจสอบสภาพอากาศ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ อบต.
อำนาจหน้าที่ของ อบต.
ความหมาย/ หน้าที่ของนายกฯ
ความหมาย/ หน้าที่ของสภาฯ
องค์ประกอบของ อบต.
อบต.เกิดขึ้นได้อย่างไร ?
อบต.คืออะไร ?
การดูแลการทำงานของ อบต.
ประชาชนสำคัญต่อ อบต. ?
คู่มือการปฏิบัติงาน
แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการให้บริการ
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองตาดใหญ่
อำเภอสีดา จังหวัดนครราชาสีมา
Tel
: 044-002348
Copyright © 2020 by
OPSTECH
All Right Reserved.