หน้าแรก
ผลงานของเรา
ภาพกิจกรรม
ติดต่อเรา
ส่งอีเมล์
ร้องทุกข์
E-Service
แผนที่เว็บไซต์
×
×
โครงสร้างการบริหาร
ทำเนียบผู้บริหาร
ทำเนียบฝ่ายสภา
สำนักปลัด
กองการคลัง
กองโยธา
กองการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม
กองสาธารณสุข
กองสวัสดิการฯ
โครงสร้างขององค์การบริหารส่วนตำบล
แผนจัดหาพัสดุ
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
วิสัยทัศน์การพัฒนา
ประวัติความเป็นมา
พันธกิจ
ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
ข้อมูลด้านสังคม
ข้อมูลด้านการการบริการพืิ้นฐาน
ข้อมูลด้านประชากร
แผนพัฒนา 3 ปี
แผนพัฒนาฯ 4 ปี
แผนพัฒนาฯ 5 ปี
แผนดำเนินงาน
แผนดำเนินงานประจำปี
คู่มือการให้บริการ
ระเบียบกฎฆมาย
คู่มือประชาชน
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
รูปกิจกรรม
รูปกิจกรรม
สายตรงผู้บริหาร
ปฎิทินกิจกรรม
กุมภาพันธ์ 2564
อา
จ
อ
พ
พฤ
ศ
ส
31
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564
หน้าแรก
การเช่าทรัพย์
การเช่าทรัพย์
การเช่าทรัพย์
การเช่าทรัพย์
ทรัพย์ที่เช่าได้
:
ทรัพย์สิ่งของใด
เจ้าของย่อมนำออกให้ผู้อื่นเช่าได้เสมอไม่ว่าทรัพย์นั้นจะมีขนาดเล็กหรือใหญ่
เคลื่อนย้ายได้หรือไม่ได้ก็ตาม ทรัพย์ที่เช่านี้มี
2
ประเภท
(1)
อสังหาริมทรัพย์ คือ สิ่งที่ยึดติดกับพื้นที่เคลื่อนย้ายไม่ได้ เช่น ที่ดิน สวน
บ้าน ตึกแถว เป็นต้น
(2)
สังหาริมทรัพย์ คือ
สิ่งที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย รถยนต์ เรือ เกวียน เป็นต้น
หลักฐานการเช่า
:
การเช่าอสังหาริมทรัพย์
ต้องมีการทำหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด
(
ผู้เช่าหรือผู้ให้เช่า) ถ้าไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ
จะฟ้องร้องให้ปฏิบัติตามสัญญาเช่าไม่ได้
หลักฐานเป็นหนังสือ
:
ไม่จำเป็นจะต้องเป็นรูปหนังสือสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์ทั้งฉบับ
แต่จะเป็นหนังสือใดๆ ก็ย่อมได้ เช่น
จดหมายที่ผู้ให้เช่าหรือผู้เช่าเขียนถึงกันเพื่อตกลงราคาค่าเช่า
หรือใบเสร็จรับเงินค่าเช่าเป็นต้น ดังนั้น หลักฐานเป็นหนังสือจะเป็นในลักษณะใดก็ได้
สำคัญอยู่ที่ว่า ข้อความในหนังสือนั้นแสดงให้เห็นว่าได้มีสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์
ก็พอจะใช้ยันผู้ให้เช่าหรือผู้เช่าแล้ว หลักฐานเป็นหนังสือนี้
ไม่จำเป็นจะต้องมีอยู่ในขณะตกลงทำสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์นั้น
แม้จะมีขึ้นในภายหลังจากการตกลงทำสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์แล้วก็ใช้ได้
ถ้ามีการเช่าอสังหาริมทรัพย์เกินกว่า
3
ปี (กฎหมายห้ามเกิน
30
ปี
)
หรือมีการกำหนดอายุของผู้เช่าหรือผู้ให้เช่า
จะต้องนำสัญญานั้นไปจดทะเบียนการเช่าต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ถ้าเป็นการเช่าบ้านหรือตึกแถวต้องไปจดทะเบียน ณ ที่ว่าการอำเภอ ที่บ้าน
หรือตึกแถวนั้นตั้งอยู่ ถ้าเช่าที่ดิน (รวมทั้งบ้านด้วยก็ได้)
ต้องไปจดทะเบียนที่สำนักงานที่ดินประจำจังหวัด
การเช่าสังหาริมทรัพย์
แม้ว่าไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ เช่น ตกลงทำสัญญาเช่าด้วยวาจาก็ฟ้องร้องบังคับกันได้
การโอนความเป็นเจ้าของ
:
(1)
ในอสังหาริมทรัพย์ที่เช่า
ไม่ทำให้สัญญาเช่าที่ทำไว้เดิมสิ้นสุดลง เจ้าของคนใหม่ต้องยอมรับรู้
และผูกพันตามสัญญาเช่าที่เจ้าของเดิมทำไว้ เจ้าของคนใหม่จึงเป็นผู้ให้เช่า
(2)
ในสังหาริมทรัพย์ ทำให้สัญญาเช่าสิ้นสุดลง
เจ้าของคนใหม่เรียกเอาทรัพย์ที่เช่าคืนได้ ถ้าผุ้เช่า เสียหาย เช่น
ให้ค่าเช่าล่วงหน้า
2
เดือน ก็ต้องไปทวงคืนเอาจากเจ้าของเดิม
เช่าช่วง
:
เช่าช่วง คือ
การที่ผู้เช่าเอาทรัพย์ที่ตนเช่าให้คนอื่นเช่าต่อ ไม่ว่าทั้งหมดหรือแต่บางส่วน เช่น
ก เช่าเรือ ข แล้ว ก เอาเรือที่ตนเช่าไปให้ ค เช่าต่อ
การเช่าช่วงถือว่าเป็นการผิดสัญญาเช่า
ผู้ให้เช่ามีสิทธิบอกสัญญาเรียกเอาทรัพย์ที่เช่าคืนได้ เว้นแต่ผู้ให้เช่าอนุญาต
ในกรณีเช่นนี้เมื่อมีการเช่าช่วง
ผู้เช่าช่วงต้องรับผิดชอบโดยตรงต่อผู้ให้เช่า
สัญญาต่างตอบแทนชนิดพิเศษนอกเหนือไปจากสัญญาเช่าธรรมดา
คือ การที่ผู้เช่าตกลงทำการอย่างใดให้เกิดประโยชน์ในทรัพย์ที่เช่า เช่น
ผู้เช่ารับซ่อมแซม และต่อเติมบ้านเช่า ปลูกต้นไม้ในที่ดินที่เช่า
หรือออกเงินช่วยค่าก่อสร้างตึกที่เช่า เป็นต้น
สัญญาชนิดนี้มีผลผูกพันและฟ้องร้องบังคับกันได้
แม้ไม่มีหลักฐานการเช่าหรือแม้ว่าเป็นการเช่าอสังหาริมทรัพย์เกินกว่า
3
ปี
ก็ไม่ต้องทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่นอกจากนี้ผู้เช่าตายสัญญาชนิดนี้ไม่ระงับ
ทายาทของผู้เช่า (พ่อ แม่ ลูก หลานของผู้เช่า) มีสิทธิเช่าได้ต่อไป
จนกว่าจะครบอายุสัญญา
การสิ้นสุดแห่งสัญญาเช่า
:
(1)
ถ้าเป็นสัญญาเช่ามีกำหนดเวลาการเช่าไว้ เมื่อสิ้นเวลาที่ได้ตกลงกันไว้
สัญญาเช่าก็หมดอายุ
(2)
สัญญาเช่าย่อมระงับลงเมื่อทรัพย์สินซึ่งให้เช่าสูญหายไปทั้งหมด เช่น
บ้านที่เช่าถูกไฟไหม้
(3)
สัญญาเช่าระงับลงเมื่อผู้เช่าถึงแก่ความตาย
(4)
วิธีการเบิกเลิกสัญญาเช่าชนิดที่ไม่กำหนดระยะเวลาที่ให้เช่านั้น
ทั้งฝ่ายผู้ให้เช่าและผู้เช่าต่างมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้
โดยการให้คำบอกกล่าวเลิกสัญญา
ซึ่งต้องบอกกล่าวล่วงหน้าในระยะเวลาไม่น้อยกว่ากำหนดระยะเวลาเช่าระยะหนึ่ง เช่น
กำหนดชำระค่าเช่าเป็นรายเดือน ให้บอกกล่าวล่วงหน้า
1
เดือน
(5)
ถ้าผู้เช่าผิดนัดไม่ชำระค่าเช่า ผู้ให้เช่าสามารถบอกเลิกสัญญาเช่าได้ทันที
ถ้าการเช่านั้นมีการตกลงชำระค่าเช่ากันน้อยกว่ารายเดือน เช่น ชำระเป็นรายวัน
รายสัปดาห์ หรือ
2
สัปดาห์ เป็นต้น แต่หากมีการตกลงชำระค่าเช่าเป็นรายเดือน
หรือกว่ารายเดือน ผู้ให้เช่าต้องบอกกล่าวผู้ให้เช่าภายในเวลาอย่างน้อย
15
วัน
หากผู้เช่าไม่ชำระค่าเช่าในเวลาที่กำหนด ผู้ให้เช่าบอกเลิก
สาสน์จากผู้บริหาร
นายจำรัส พลรักษา
นายกองค์การบริหารส่วนตำบล
หนองตาดใหญ่
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
รายงานผลการดำเนินงานรายไตรมาส
งบการเงินประจำปี
รายงานรับ-จ่ายจริง
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างประจำเดือน
ประกาศ
ประกาศ
การให้บริการ
ถาม-ตอบ
สมุดเยี่ยมชม
ดาวน์โหลด
กระดานสนทนา
แบบสำรวจความคิดเห็น
คุณมีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับเว็บไซต์ใหม่ของ อบต.
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
โหวต
ผลโหวต
สถิติผู้เยี่ยมชม
ออนไลน์ทั้งหมด
1
คน
หมายเลข IP
3.238.186.43
คุณเข้าชมลำดับที่
174,572
กฎหมายน่ารู้
การกู้ยืมเงิน
การค้ำประกัน
การซื้อขาย
การจำนอง
การจำนำ
การเช่าทรัพย์
การขายฝาก
การเช่าซื้อ
การละเมิด
ลิงค์ต่างๆ
ห้องสมุดกฏหมาย
สลากกินแบ่งรัฐบาล
ตารางรถทัวร์
ตารางรถไฟ
สมุดหน้าเหลือง
ตรวจสอบสภาพอากาศ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ อบต.
อำนาจหน้าที่ของ อบต.
ความหมาย/ หน้าที่ของนายกฯ
ความหมาย/ หน้าที่ของสภาฯ
องค์ประกอบของ อบต.
อบต.เกิดขึ้นได้อย่างไร ?
อบต.คืออะไร ?
การดูแลการทำงานของ อบต.
ประชาชนสำคัญต่อ อบต. ?
คู่มือการปฏิบัติงาน
แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการให้บริการ
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองตาดใหญ่
อำเภอสีดา จังหวัดนครราชาสีมา
Tel
: 044-002348
Copyright © 2020 by
OPSTECH
All Right Reserved.