หน้าแรก
ผลงานของเรา
ภาพกิจกรรม
ติดต่อเรา
ส่งอีเมล์
ร้องทุกข์
E-Service
แผนที่เว็บไซต์
×
×
โครงสร้างการบริหาร
ทำเนียบผู้บริหาร
ทำเนียบฝ่ายสภา
สำนักปลัด
กองการคลัง
กองโยธา
กองการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม
กองสาธารณสุข
กองสวัสดิการฯ
โครงสร้างขององค์การบริหารส่วนตำบล
แผนจัดหาพัสดุ
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
วิสัยทัศน์การพัฒนา
ประวัติความเป็นมา
พันธกิจ
ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
ข้อมูลด้านสังคม
ข้อมูลด้านการการบริการพืิ้นฐาน
ข้อมูลด้านประชากร
แผนพัฒนา 3 ปี
แผนพัฒนาฯ 4 ปี
แผนพัฒนาฯ 5 ปี
แผนดำเนินงาน
แผนดำเนินงานประจำปี
คู่มือการให้บริการ
ระเบียบกฎฆมาย
คู่มือประชาชน
แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
รูปกิจกรรม
รูปกิจกรรม
สายตรงผู้บริหาร
ปฎิทินกิจกรรม
มีนาคม 2564
อา
จ
อ
พ
พฤ
ศ
ส
28
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
วันที่ 7 มีนาคม 2564
หน้าแรก
การจำนอง
การจำนอง
การจำนอง
การจำนอง
จำนองก็เป็นหลักประกันหนี้อีกประการหนึ่ง จำนองคือ
การใครคนหนึ่งเรียกว่า ผู้จำนองเอาอสังหาริมทรัพย์ อันได้แก่ ที่ดิน บ้านเรือน
เป็นต้น ไปตราไว้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า ผู้รับจำนอง
หรือนัยหนึ่งผู้จำนองเอาทรัพย์สินไปทำหนังสือจดทะเบียนต่อเจ้าพนักงาน
เพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ของลูกหนี้ โดยไม่ต้องส่งมอบทรัพย์ที่จำนองให้เจ้าหนี้
ผู้จำนองอาจเป็นตัวลูกหนี้เอง หรือจะเป็นบุคคลภายนอกก็ได้ เช่น นายดำ กู้เงินนายแดง
100,000
บาท เอาที่ดินของตนเองจำนองหรือนายเหลืองซึ่งเป็นบุคคลภายนอกเอาที่ดินจำนอง
จดทะเบียนที่สำนักงานที่ดินเป็นประกันหนี้นายดำ ก็ทำได้เช่นเดียวกัน
เมื่อจำนองแล้วถ้าลูกหนี้ไม่ชำระหนี้
เจ้าหนี้ก็มีอำนาจยึดทรัพย์ที่จำนองออกขายทอดตลาดเอาเงินชำระหนี้ได้
และมีสิทธิพิเศษได้รับชำระหนี้ก่อนเจ้าหนี้ธรรมดาทั่วไป
กู้เงินแล้วมอบโฉนด หรือ น.ส.
3
ให้เจ้าหนี้ยึดถือไว้มิใช่จำนอง
เจ้าหนี้ไม่มีสิทธิพิเศษเป็นเพียงเจ้าหนี้ธรรมดา แต่มีสิทธิยึดโฉนดหรือ น.ส.
3
ไว้ตามข้อตกลงจนกว่าลูกหนี้จะชำระหนี้
ฉะนั้นถ้าจะทำจำนองก็ต้องจดทะเบียนให้ถูกต้อง
ทรัพย์สินที่จำนอง
:
ทรัพย์สินที่จำนองได้ คืออสังหาริมทรัพย์
อันหมายถึง ทรัพย์ที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ เช่น ที่ดิน บ้านเรือน เรือกสวนไร่นา
เป็นต้น นอกจากนั้นสังหาริมทรัพย์ คือทรัพย์ที่เคลื่อนที่ได้บางอย่าง เช่น
เรือกำปั่น เรือกลไฟ แพ ที่อยู่อาศัย และสัตว์พาหนะ ถ้าได้จดทะเบียนไว้แล้ว
ก็อาจนำจำนองได้ดุจกัน
เมื่อเจ้าของทรัพย์นำไปจำนองไม่จำเป็นต้องส่งมอบทรัพย์ที่จำนองให้แก่เจ้าหนี้เจ้าของยังครอบครองใช้ประโยชน์
เช่น อยู่อาศัยในบ้าน หรือทำสวนทำไร่หาผลประโยชน์ได้ต่อไป
นอกจากนั้นอาจจะโอนขายหรือนำไปจำนองเป็นประกันหนี้รายอื่นต่อไป ก็ย่อมทำได้
ส่วนเจ้าหนี้นั้น
การที่ลูกหนี้นำทรัพย์ไปจดทะเบียนจำนองก็นับได้ว่าเป็นประกันหนี้ได้อย่างมั่นคงไม่จำเป็นต้องเอาทรัพย์นั้นมาครอบครองเอง
ผู้จำนองต้องระวัง
:
ผู้มีสิทธิจำนองได้
คือเจ้าของหรือผู้มีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน ถ้าเจ้าของจำนองทรัพย์สินด้วยตนเอง
ก็ไม่มีปัญหาแต่ถ้ามอบให้บุคคลอื่นไปทำการจำนองแทน บางกรณีก็อาจเกิดปัญหาได้
ข้อควรระมัดระวัง คือ ควรเขียนใบมอบฉันทะหรือใบมอบอำนาจให้ชัดเจนว่า ให้ทำการจำนอง
ไม่ควรเซ็นแต่ชื่อแล้วปล่อยค้างไว้
อันบุคคลอื่นนั้นอาจกรอกข้อความเอาเองแล้วนำไปทำประการอื่นอันไม่ตรงตามความประสงค์ของเรา
เช่น อาจเพิ่มเติมข้อความว่ามอบอำนาจให้โอนขาย
แล้วขายเอาเงินใช้ประโยชน์ส่วนตัวเสีย เป็นต้น เราผู้เป็นเจ้าของทรัพย์
ผู้มอบอำนาจอาจจะต้องถูกผูกพันตามสัญญาซื้อขายนั้น
เพราะว่าประมาทเลินเล่ออยู่ด้วย
ผู้รับจำนองต้องระวัง
:
ผู้รับจำนองทรัพย์สินก็ต้องระมัดระวังเช่นกัน
ควรติดต่อกับเจ้าของทรัพย์หรือเจ้าของที่ดินโดยตรง
และควรตรวจดูที่ดินทรัพย์สินที่จำนองว่ามีอยู่จริงตรงกับโฉนด
เคยปรากฏว่ามีผู้นำโฉนดที่ดินไปประกันตัวผู้ต้องหาหรือจำเลย
แต่ที่ดินตามโฉนดนั้นกลับเป็นถนนเหลือจากการจัดสรร
หรือที่ดินตามโฉนดนั้นพังลงน้ำไปหมดแล้ว ดังนั้นผู้รับจำนองจึงไม่ควรรับจำนอง
หรือติดต่อทำสัญญากับคนอื่นหรือผู้ที่อ้างว่าเป็นตัวแทน เพราะถ้าปรากฏในภายหลัง
ว่าบุคคลนั้นทำใบมอบฉันทะหรือใบมอบอำนาจปลอมขึ้นแล้วนำที่ดินอื่นมาจำนอง
แม้เราผู้รับจำนองจะมีความสุจริตอย่างไรเจ้าของอันแท้จริงก็มีสิทธิติดตามเอาคืนที่ดินของเขาได้โดยไม่ต้องไถ่ถอน
ผู้รับโอนและผู้รับจำนองซ้อนก็ต้องระวัง
:
ทรัพย์ที่จำนองนั้นเจ้าของจะนำไปจำนองซ้ำ
หรือโอนขายต่อไปก็ย่อมทำได้
ผู้รับจำนองคนหลังต้องพิจารณาว่าทรัพย์นั้นเมื่อขายทอดตลาดจะมีเงินเหลือพอชำระหนี้ของตนหรือไม่
เพราะเจ้าหนี้คนแรกมีสิทธิได้รับการชำระหนี้ก่อน
คนหลังมีสิทธิแต่เพียงได้ชำระหนี้เฉพาะส่วนที่เหลือผู้รับโอนหรือผู้ซื้อทรัพย์ที่จำนองก็ต้องระวังเช่นเดียวกัน
เพราะรับโอนทรัพย์โดยมีภาระจำนองก็ต้องไถ่ถอนจำนองโดยชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้
มิฉะนั้น เจ้าหนี้ก็มีสิทธิที่จะบังคับจำนองยึดทรัพย์เอาที่ดินออกขายทอดตลาด
ซึ่งถ้าผู้รับโอนสู้ราคาไม่ได้ ทรัพย์หลุดมือไปเป็นของคนอื่น ดังนั้นที่ซื้อมา
สาสน์จากผู้บริหาร
นายจำรัส พลรักษา
นายกองค์การบริหารส่วนตำบล
หนองตาดใหญ่
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
รายงานผลการดำเนินงานรายไตรมาส
งบการเงินประจำปี
รายงานรับ-จ่ายจริง
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างประจำเดือน
ประกาศ
ประกาศ
การให้บริการ
ถาม-ตอบ
สมุดเยี่ยมชม
ดาวน์โหลด
กระดานสนทนา
แบบสำรวจความคิดเห็น
คุณมีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับเว็บไซต์ใหม่ของ อบต.
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
โหวต
ผลโหวต
สถิติผู้เยี่ยมชม
ออนไลน์ทั้งหมด
1
คน
หมายเลข IP
54.236.62.49
คุณเข้าชมลำดับที่
176,362
กฎหมายน่ารู้
การกู้ยืมเงิน
การค้ำประกัน
การซื้อขาย
การจำนอง
การจำนำ
การเช่าทรัพย์
การขายฝาก
การเช่าซื้อ
การละเมิด
ลิงค์ต่างๆ
ห้องสมุดกฏหมาย
สลากกินแบ่งรัฐบาล
ตารางรถทัวร์
ตารางรถไฟ
สมุดหน้าเหลือง
ตรวจสอบสภาพอากาศ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ อบต.
อำนาจหน้าที่ของ อบต.
ความหมาย/ หน้าที่ของนายกฯ
ความหมาย/ หน้าที่ของสภาฯ
องค์ประกอบของ อบต.
อบต.เกิดขึ้นได้อย่างไร ?
อบต.คืออะไร ?
การดูแลการทำงานของ อบต.
ประชาชนสำคัญต่อ อบต. ?
คู่มือการปฏิบัติงาน
แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการให้บริการ
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองตาดใหญ่
อำเภอสีดา จังหวัดนครราชาสีมา
Tel
: 044-002348
Copyright © 2020 by
OPSTECH
All Right Reserved.